แบบทดสอบก่อนเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
ความหมายและประเภทของข้อมูลและ
สารสนเทศ
การจัดการสารสนเทศ
วิธีการประมวลผลข้อมูล
ระดับของสารสนเทศ
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
ข้อมูลดิจิทัล
ระบบเลขฐาน
การแปลงค่าเลขฐาน
โปรแกรม Calculator
การกระทำทางตรรกศาสตร
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
บทบาทของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจำ
หน่วยแสดงผล
แบบทดสอบหลังเรียน
 


การกระทำทางตรรกศาสตร์

            หน่วยเก็บข้อมูลพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์  คือ  บิต  ประกอบไปด้วยตัวเลขสองตัว  คือ 0และ  1
ซึ่งสอดคล้องกับค่าตรรกะ  คือ  เท็จ  และ  จริง  จึงสามารถแทน  0ด้วยเท็จ  และแทน  1ด้วยจริง
             การนำข้อมูลมารวมกันจะต้องใช้ตัวกระทำหรือตัวเชื่อมของตรรกะ  ตัวเชื่อมของตรรกะขั้นพื้นฐานมี 
4  ตัวกระทำ  คือ  AND  OR  NOT  และXNOT  ซึ่งเป็นแนวคิดขั้นพื้นฐานในการสร้างวงจรสมองกลหรือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
              1. ตัวกระทำ  AND  คือ  เมื่อข้อมูลทั้งสองมีค่าเป็นจริง  ค่าที่ได้จะเป็นจริง  แต่หากข้อมูลใดข้อมูลหนึ่ง
เป็นเท็จ  ค่าที่ได้จะกลายเป็นเท็จ
              2. ตัวกระทำ  ORคือ  เมื่อข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งเป็นจริง ค่าที่ได้จะเป็นจริง แต่หากไม่มีข้อมูลใดเป็นจริง
เลย  ค่าที่ได้นั้นจะเป็นเท็จ
              3. ตัวกระทำ  NOTคือ  การทำให้ข้อมูลที่มีได้ผลตรงกันข้าม  กล่าวคือ  ถ้าเดิมเป็นจริงผลที่ได้ก็จะกลาย เป็นเท็จ
              4. ตัวกระทำ  XNOTคือ  เมื่อข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งเป็นจริง  ค่าที่ได้จะเป็นจริง แต่หากข้อมูลนั้นจริงหรือ
เท็จ ทั้งหมดค่าที่ได้จะเป็นเท็จ

นอกจาก  AND  OR  XNOT  และ  NOT  แล้ววงจรไฟฟ้าจะต้องมี  IMPLY
หรือการสำเนาข้อความหนึ่งไปอีกที่หนึ่ง  จึงจะสามารถประกอบขึ้นเป็น
สมองกล (TURING  MACHINE)  ได้